โครงการออกแบบโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งและจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อม
(EIA) พื้นที่อุทยานแห่งชาติสิรินาถ อำเภอถลาง จังหวัดภูเก็ต
ความเป็นมาของโครงการ (เหตุผลและความจำเป็น)
บริเวณอุทยานแห่งชาติสิรินาถ มีระยะทาง 24.48 กิโลเมตร โดยเฉพาะบริเวณหาดในยางกำลังประสบปัญหาการกัดเซาะชายฝั่ง ลักษณะหาดประกอบด้วย
หาดทรายขนาดยาวอยู่ระหว่างหัวแหลมและฝั่งหิน ซึ่งเปิดสู่ทะเลลึกด้านนอกรับลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้โดยตรง ได้แก่ หาดไม้แก้ว หาดไม้ขาว หาดในยาง
และหาดในทอน จากเหตุผลดังกล่าว กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง โดยสำนักการจัดการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลและพื้นที่ชายฝั่งทะเล จึงเห็น
เห็นสมควรให้มีการจัดทำแนวทางการออกแบบโครงสร้างป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งพื้นที่รอบจังหวัดภูเก็ต และจัดทำรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบ
สิ่งแวดล้อม (EIA) โดยมอบหมายให้มหาวิทยาลัยนเรศวรเป็นที่ปรึกษา เพื่อแก้ไขปัญหาการกัดเซาะชายฝั่งให้กับประชาชนในพื้นที่ และเป็นแนวทางในการ
ก่อสร้างที่จะลดผลกระทบที่จะเกิดขึ้นต่อทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมเศรษฐกิจและสังคม อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชน สังคมในพื้นที่และ
ประเทศชาติโดยรวมต่อไป
                       
 
คณะทำงานสำรวจพื้นที่การกัดเซาะของชายฝั่ง วันที่ 6-7 พ.ย. 2556




  • กำหนดการประชุมวิชาการ
  • แบบตอบรับการเข้าร่วมประชุม
  • รายชื่อผู้แจ้งความประสงค์เข้าร่วมประชุมวิชาการ
    ทีี่ รายชื่อ หน่วยงาน
    1 นายวิญญู ยมนา รองประธานกองหนุนเพื่อความมั่นคงของชาติ จ.ภูเก็ต
    2 นายขจรเกียรติ รักพานิชมณี รองผู้ว่าราชการจังหวัดภูเก็ต
    3 นางสาวเสาวนีย์ จำนงค์ยา ผู้ประกาศข่าว สถานีวิทยุโทรทัศน์แห่งประเทศไทย จ.ภูเก็ต
    4 นางบุษบา ใจเปี่ยม ประชาสัมพันธ์จังหวัดภูเก็ต
    5 นายวิชัย สินอนันต์ เจ้าหน้าที่ประมงชำนาญงาน ศุนย์วิจัยและพัฒนาประมงทะเลฝั่ง
    อันดามัน (ภูเก็ต)
    6 นางรุ่งรวี อ้นคต นักอุตุนิยมวิทยาชำนาญการพิเศษ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคใต้
    ฝั่งตะวันตก
    7 นายกิตติพงษ์ ทักลาบ นายช่างโยธา 5 เทศบาลตำบลราไวย์
    8 นายวัชรินทร์ ไชยานุพงศ์ อุตสาหกรรมจังหวัดภูเก็ต
    9 นายเกรียงศักดิ์ ชูชาติพงษ์ ผู้อำนวยการสำนักการช่าง เทศบาลนครภูเก็ต
    10 นายทวีวัฒน์ คงวุ่น วิศวกรโยธา 6 ว เทศบาลนครภูเก็ต
    11 นายมนัส ปลิดโรค ครูชำนาญการ โรงเรียนภูเก็ตวิทยาลัย
    12 นายธวัช ศรีวีระชัย ผู้อำนวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งภูเก็ต
    13 รศ.ดร.เดช วัฒนชัยยิ่งเจริญ ผู้ชำนาญการสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยนเรศวร
    14 ผศ.พยอม รัตนมณี ผู้เชี่ยวชาญด้านปะการังเทียมฟื้นฟูชายฝั่ง
    15 ดร.พินัย จินชัย ผู้เชี่ยวชาญด้านวิศวกรรมชายฝั่ง
    16 นางสาวพรนภา สุตะวงค์ วิศวกรสิ่งแวดล้อมอาวุโส มหาวิทยาลัยนเรศวร
    17 นางสาวปิยะมาศ ภัทรินทร์ นักวิชาการวิเทศสัมพันธ์ มหาวิทยาลัยนเรศวร
    18 นางสาวกมลภรณ์ บุญถาวร นักชีววิทยา มหาวิทยาลัยนเรศวร
    19 นายวัชรินทร์ ถิ่นถลาง ผู้อำนวยการสำนักงานบริหารจัดการทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งที่ 6
    ผู้แทน อธิบดีกรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
    20 นายจักรกฤษณ์ ศิริวัฒน์ รองผู้อำนวยการฝ่ายบริหารทั่วไป โรงเรียนสตรีภูเก็ต
    21 นางชรินทร ชนะเสน เจ้าหน้าที่พัฒนาการท่องเที่ยว สำนักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดภูเก็ต
    22 ว่าที่ร้อยตรีพศวัต คุระวรรณ หัวหน้าสถานีทรัพยากรป่าชายเลนที่ 23 จังหวัดภูเก็ต
    23 นายณัฐกฤษณ์ พลเพชร นักวิชาการสิ่งแวดล้อมชำนาญการพิเศษ สำนักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดภูเก็ต
         
         
         
         
         
         
         

 

 

 

 
Copyright 2009, AEI R&D Unit, All rights reserved.
Tel/Fax: 055-962822 c/o AG2101
Webmaster AEI: piyamatt@nu.ac.th, piyamat_thamee@hotmail.com